หน้าร้าน  :  Gallery สินค้า  :  ข่าวสารจากร้านค้า  :  วิธีการชำระเงิน  :  ติดต่อร้าน  :  เที่ยววัดสะพานสูง
เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์
ลำดับที่เยี่ยมชม

Online: 65 คน
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่ : เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์

รายละเอียดร้านค้า

ชื่อร้านค้า เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์
ชื่อเจ้าของ นายสัญญา นาคบุตร (นก- ชุมพร)
รายละเอียด ให้บูชาพระเครื่องและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับพระเครื่อง สนใจโทรหาต่อรองราคากันได้ตามมิตรภาพครับ ส่วนภาพถ่ายพระเครื่องใน ร้าน เกจิน้อยพระเครื่องออนไลน์ ทางร้านขอสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ลิขสิทธิ์ & นโยบายส่วนตัว ห้ามนำภาพในร้านไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการจากทางร้าน ไม่ว่ากรณีใดๆก็ตาม หากพบเจอจะดำเนินคดีตามกฎหมายที่บัญญัติไว้สูงสุด
เงื่อนไขการรับประกัน พระทุกองค์ที่เปิดเช่ารับประกันแท้ตามมาตรฐานสากลนิยม ครับ หากพระเก้ หรือ มีปัญหา รับคืนเต็มจำนวน หากคืนพระในสภาพเดิม ภายใน 7 วัน คืน 100 % ภายในสองสัปดาห์ คืน 75 % ภายใน 1 เดือน คืน 50 % .
ที่อยู่ 116 ม.8 ต.นากระตาม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร
เบอร์ที่ติดต่อ 081-4070684
E-mail noksunyaarea@gmail.com และnoksunya@hotmail.co.th
วันที่เปิดร้าน 05-06-2556 วันหมดอายุ 05-06-2567

ท่านสามารถชำระเงิน ผ่านทางธนาคาร อีแบงค์กิ้ง หรือ ตู้ ATM ตามบัญชี ด้านล่าง

โลโก้
ธนาคาร
สาขา
ชื่อบัญชี
เลขที่บัญชี
ประเภทบัญชี
0 0
นายสัญญา นาคบุตร 
0
ออมทรัพย์ 

วัตถุมงคล: เครื่องราง ของขลัง
เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘
07-05-2562 เข้าชม : 1646 ครั้ง

[ ชื่อพระ ] เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘
[ รายละเอียด ] เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘ (ต้น ค.ศ. ๑๖๕ ) เนื้อทองแดง รูปพระพุทธรูปยืนปางอภัย ศิลปะ คันทาระ น้ำหนักประมาณ ๑๖.๔๒ กรัม เส้นผ่าศูนยกลาง ๒๕ มม.ด้านหลังอีกขระ SACA MANO BOYDO เป็นอีกหนึ่งเหรียญที่โบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงการสร้างพระพุทธรูปครั้งแรกของโลก เกิดขึ้นในยุคสมัยของพระเจ้าขะนิสกะ ราชวงศ์คุชชานแห่งอินเดียเหนือ จะสังเกตได้ว่า แม้เหรียญนี้จะเป็นเหรียญทองแดง แต่ก็ยังมองเห็นทองคำประปราย เป็นหย่อมๆ ปนอยู่ในโลหะ ทองแดงเช่นกัน แสดงว่ามีทองคำผสมอยู่เยอะนับเป็นอีกหนึ่งเหรียญโบราณ ที่ควรค่าแก่การศึกษา และสะสม เป็นอย่างยิ่ง เพราะด้วยอายุความเก่าผ่านมาเป็นพันๆปี บ่งบอกถึงวัฒนธรรม อันยาวนานของมนุษย์ชาติ ที่สั่งสมกันมา น่าเก็บน่าใช้อีกละคราฟ *********************************************************************************************************************************** เมื่อต้นพุทธศักราช พ.ศ. ๗๐๘ (ต้น ค.ศ. ๑๖๕ ก่อนคริสต์ศักราช) ชนเผ่าเร่ร่อน ตามชื่อเรียกภาษาจีนว่า ยูชี (Yueh-chi)ได้อพยพออกจากถิ่นเดิม ชายแดนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน เนื่องจากถูกพวก Turkic-Mongol Hsiug-nu ขับไล่ จำต้องเคลื่อนตัวเข้ามาทางตะวันตกในดินแดน Oxus และได้ตั้งหลักปักฐานในแคว้น แบคเตรีย (Bactria) หลังจากได้พำนักพักพิงอยู่นานร่วมศตวรรษ เจ้านายตระกูลสาย คุชชาน (Kushan) ซึ่งเป็นสายย่อยของยูชิเป็นผู้นำ แยกตัวออกมาและนำทัพเข้ารุกรานเขตแดนของชนเผ่า พาร์เทีย (Parthia) ซึ่งมีดินแดนอยู่ติดชายขอบของอาฟกานิสถาน จากนั้นได้เข้ายึดครองถึงใจกลางของอาฟกานิสถานแค้วนคันทาระ และที่ราบลุ่ม สะเวท (Swat) จากนั้นค่อยๆ รุกคืบเข้ายึดครองครอบคลุมดินแดนทั้งหมดทั่วทั้งภาคเหนือของอินเดีย กองทัพคุชชานยังได้รุกคืบเข้ายึดครองลึกเข้ามาถึงกรุงพาราณสี รัฐพิหาร ทิศตะวันออกถึงสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคารัฐเบงกอล ในขณะเดียวกัน ด้านทิศตะวันตกครอบครองดินแดนถึงลุ่มน้ำสินธุ ราชวงศ์คุชชานได้สร้างอาณาจักรรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่ ครอบครองดินแดนอินเดียเหนือนานร่วมศตวรรษ โดยที่อาณาจักรของคุชชาน ประกอบด้วยชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรม เหรียญกษาปณ์ยุคแรกๆ ของคุชชาน ด้านหน้ามีอักขระกรีกและมีคำแปลด้านหลังเป็นภาษาท้องถิ่น อักขระ คารอสที่ (Kharosthi)ด้านหลังของเหรียญ หลังจากที่ พระเจ้าขะนิสกะที่หนึ่ง (Kanishka I) ได้ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระเจ้าวิมา กัดฟิสส์ พระองค์ได้ปรับปรุงภาษากรีก ด้วยการเพิ่มอักขระของท้องถิ่นบางตัวเพื่อปรับให้เข้ากับสำเนียงและภาษาถิ่น ในขณะเดียวกันก็ยอมรับและปรับตัวเข้ากับลัทธิความเชื่อของเทพเจ้าต่างๆ ของวัฒนธรรมอินเดีย เปอร์เชีย และเอเชียกลาง ซึมซับผสมกลมกลืนระหว่างความเชื่อตะวันตกและความเชื่อตะวันออกเข้าด้วยกัน ดังปรากฏบนเหรียญกษาปณ์ทั้งทองคำและทองแดง พระเจ้ากูจูลา กัดฟีสส์ (Kujula Kadphises) ปฐมกษัตริย์ของคุชชานได้ผลิตเหรียญกษาปณ์ เงิน ทองแดง ด้านหลังเป็นรูปเทพเจ้ากรีก พระเจ้าวิมา ทักตู (Wima Taktu) ผู้สืบราชสมบัติต่อมาก็ผลิตเหรียญกษาปณ์ด้วยเงินและทองแดงเช่นเดิม พอมาถึงรัชสมัย พระเจ้าวิมา กัดฟิสส์ (Wima Kadphises) ผู้สืบราชวงศ์ต่อจากพระเจ้าวิมา ทักตู ได้ขยายดินแดนออกไปทางเหนือ ทำให้อาณาจักรกว้างใหญ่ขึ้น จึงเกิดความมั่งคั่ง เพราะสามารถควบคุมเส้นทางการค้าที่สำคัญคือเส้นทางสายไหม ซึ่งพ่อค้าต่างแดน โดยเฉพาะอาณาจักรโรมันชึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ต้องการสินค้าฟุ่มเฟือยจากอินเดีย และนิยมซื้อขายสินค้าด้วยเหรียญกษาปณ์ทองคำของชาวโรมัน Aurei เหรียญทองคำเหล่านี้ เมื่อได้มาจึงถูกหลอมและผลิตขึ้นใหม่ตามรูปแบบของคุชชาน ถือได้ว่าพระเจ้าวิมา กัดฟิสส์เป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่ก่อให้เกิดการผลิต และใช้เหรียญกษาปณ์ทองคำหมุนเวียนอย่างแพร่หลายภายในดินแดนอินเดียอย่างเป็นล่ำเป็นสัน (ก่อนหน้านั้น พระเจ้าเมนันเดอร์ที่หนึ่ง Menander I พระยามิริน ก็ได้เคยผลิตเหรียญกษาปณ์ทองคำในแผ่นดินอินเดีย แต่จำนวนน้อยมากเพื่อเฉลิมฉลองเป็นกรณีย์พิเศษเท่านั้น) พระเจ้าวิมา กัดฟิสส์ทรงนับถือพระศิวะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าของอินเดีย ดังปรากฏด้านหลังของเหรียญ พระศิวะยืนถือสามง่ามและวัวนันทิ พระเจ้าขะนิสกะ ที่หนึ่ง (Kanishka I) ได้ครองราชสืบต่อมา พระองค์ทรงยึดถือ และปฏิบัติเช่นเดียวกับกษัตริย์คุชชานพระองค์ก่อน ทรงผลิตเหรียญกษาปณ์ ทั้งทองคำและทองแดง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รูปพระพุทธเจ้าทำด้วยทองคำและทองแดง เหรียญทองคำมีสองขนาด คือขนาดใหญ่ (Dinar) น้ำหนักไม่เกิน ๘ กรัม และขนาดเล็ก (๑/๔ Dinar) น้ำหนักไม่เกิน ๒ กรัม ทั้งสองขนาดเป็นรูปพระพุทธเจ้าประทับยืนมีอักขระภาษาอินโด-กรีก BODDO(พระพุทธเจ้า) ส่วนเหรียญทองแดงมีทั้งรูปพระพุทธเจ้าประทับยืนและประทับนั่งขัดสมาธิ มีอักขระภาษาอินโด-กรีก SAKAMANO BODDO(ศากยะมุนี พุทธเจ้า) หรือ METRAGO (ไมตรียะ /พระศรีอาริยะเมตไตรย์) เหรียญพระพุทธเจ้าเหล่านี้เป็นหลักฐานทางโบราณคดี ยืนยันการสร้างพระพุทธรูปได้เกิดขึ้้นในยุคนี้ เชื่อกันว่าพระเจ้าขะนิสกะที่หนึ่งทรงให้ผลิตขึ้นเป็นกรณีย์พิเศษ (จึงมีจำนวนน้อยมาก) เพื่อเป็นการฉลองพิธีสังคายนาพระไตรปิดก ที่ Kanish Vihar เมืองแคชเมียร์และเป็นการเริ่มต้นนิกายมหายาน (Mahayana Buddhism) นอกจากพุทธศาสนา พระเจ้าขะนิสกะที่หนึ่งก็ให้ความสำคัญในการนับถือศาสนาและลัทธิอื่นๆ ที่ประชาชนในอาณาจักร์เคารพนับถือ พระองค์ทรงผลิตเหรียญมีรูปเคารพของเทพเจ้าอื่นๆ เหล่านั้นจำนวนมากด้วย พระเจ้าฮูวิชกะ (Huvishka) ได้ครองราชสืบต่อจากพระเจ้าขะนิสกะที่หนึ่ง ได้ขยายอาณาเขตกว้างไกลออกไปอีกมาก โดยที่พระองค์มีแนวคิดและแนวทางการปกครอง เช่นเดียวกันกับกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหรียญกษาปณ์ของพระองค์จึงมีภาพเทพเจ้าหลากหลาย มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ทั้งทองคำ และทองแดงออกมาใช้หมุนเวียนจำนวนมาก มากกว่าทุกรัชกาลก่อนหน้านั้น ทำให้มีเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนอยู่ในอาณาจักรมาก กษัตริย์องค์ต่อๆ มาจึงไม่มีความจำเป็นต้องผลิตเหรียญกษาปณ์ออกมาเพิ่ม พระเจ้าวาสุ เดวะ ที่หนึ่ง (Vasu Deva I) ผู้สืบราชอาณาจักรต่อจากพระเจ้าฮูวิชกะ ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์ทองคำ และทองแดงจำนวนน้อยมาก ล่วงมาถึงรัชกาลของ พระเจ้าขะนิสกะ ที่สอง (Kanishka II)ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์ทั้งทองคำและทองแดง น้อยมากเช่นกัน ในรัชการนี้อาณาจักรคุชชานเริ่มเสื่อมอำนาจ อาณาเขตด้านตะวันออกของอาณาจักรเริ่มสั่นคลอนจากการก่อตัวของ ราชอาณาจักรคุปตะ (Gupta) ส่วนอาณาเขตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ก็เช่นกัน เริ่มมีปัญหากับการก่อตัวของ ราชอาณาจักรสัสสาเนี่ยน (Sassanian) แม้จะมีการเสียดินแดนบางส่วน ผู้เข้ามาครอบครองทั้งสองนี้ ต่างก็รับเอาอิทธิพลทางวัฒนธรรมของคุชชาน ดังจะเห็นได้จากเหรียญกษาปณ์รุ่นแรกๆ ของราชวงศ์คุปตะ (Gupta) และราชวงศ์สัสสาเนี่ยน (Sassanian) ล้วนจำลองแบบมาจากเหรียญกษาปณ์ทองคำของพระเจ้าขะนิสกะที่สองแทบทั้งสิ้น ราชวงศ์คุชชานแม้จะอ่อนแอ ดินแดนหดหายเล็กลง แต่ก็ยังมีกษัตริย์ปกครองต่อเนื่องมาอีกหลายพระองค์ พระเจ้าวาสิสขะ (Vasiska) พระเจ้าขะนิสกะที่สาม (Kanishka III) พระเจ้าวะสุ เดวะที่สอง (Vasu Deva II) พระเจ้าซาคะ (Shaka) ไม่ต้องสงสัยเลยว่ากษัตริย์แห่งราชวงศ์คุชชานล้วนใช้รูปลักษณ์ของเหรียญกษาปณ์เป็นเครื่องมือเผยแพร่ ความมีอำนาจของกษัตริย์ผู้มีบารมี ดุจเทพเจ้าทั้งหลายที่ปรากฏด้านหลังของเหรียญเหล่านั้น ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในดินแดนอินเดียแห่งนี้ เพราะแต่โบราณกาล ล้วนใช้แต่เครื่องหมายในเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น เดิมทีแนวคิดนี้เป็นของเหล่ากษัตริย์ชาวกรีก กษัตริย์คุชชานเป็นผู้นำมาเผยแพร่และได้รับความนิยมจากราชวงศ์คุปตะ สัสสาเนียน และเพื่อนบ้านอื่นๆ ต่างได้ถือปฏิบัติและสืบทอดต่อเนื่องกันมาอีกนับพันปี
[ ราคา ] โทรถาม
[ สถานะ ] โชว์พระ
[ติดต่อเจ้าของร้านเกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์ ] เบอร์โทรศัพท์ : 081-4070684


วัตถุมงคล: เครื่องราง ของขลัง
ราหูกะลาตาเดียวแกะ สาธุใหญ่จันเพ้ง จันทะสาโร วัดผานม สปป.ลาว ประมาณปี 2498
แมลงภู่คำ งอ แกะ (จิ่วๆ)
ปลากัดหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ (วัดพระญาติการาม)
แหวนหล่อโบราณ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี จัดสร้างราวปี ๒๔๗๕
ตะกรุดหนังกระเบน หลวงพ่อน้อย วัดคงคาราม พิจิตร สร้างปี 2480-2490
ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย เนื้อตะกั่วผสมปรอท เชือกเดิมๆ
เบี้ยแก้ หลวงพ่อทัต วัดคฤหบดี (ลูกที่ 3)
ลูกสะหวาดอุดผงพระอาจารย์เอียด วัดดอนศาลา (สำนักเขาอ้อ) จ.พัทลุง (ลูกที่ 1)
กะลาราหูแกะ หลวงพ่อแขก กาวิโร วัดสันป่าลาน อ.บ้านตาก จ.ตาก (องค์ที่ 2)
เบี้ยแก้หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว โทเร ปี ๒๕๑๖
ตะกรุดกระดูกห่าน หลวงพ่อหรุ่น เก้ายอด แห่งวัดอัมพวัน
ตะกรุดหนังเก้ง หลวงพ่อเหนี่ยง วัดสองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
ตะกรุดไม้ครูหลวงปู่จันทร์  วัดนางหนู จ.ลพบุรี
พระพนัสบดี กรุวัดจันทร์ เนื้อสำริด ศิลปศรีวิชัย จ.นครศรีธรรมราช พิมพ์ใหญ่ (องค์ที่ 2)
เต่าสำลีชุบเทียนครูบาชัยวงศ์ วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน  (ตัวที่1)
จิ้งจกมหาเสน่ห์ 2 ปี้ หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
ปลัดขิก หลวงพ่ออี๋ สัตหีบ ปลัดฉลามเมิน (ชิ้นที่ 1)
ลูกอมชมพูนุช (เทพรำลึก) หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ออกวัดซับลำใย จ.ศรีสะเกษปี ๒๕๔๒  (ลูกที่ 2)
เขี้ยวเสือแกะพิมพ์นิยมก๊อตซิลล่า (ตัวจิ๋ว) พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงออก จ.พัทลุง (ตัวที่ 2)
ตะกรุด หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
กุมารทองดูดรกหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง นครปฐม รุ่นแรกพิมพ์เล็กหลังยันต์จมปี 2485 ต้นๆ
ปลัดขิกเขาควายเผือก  อุดกริ่ง หลวงพ่อโศก วัดปากคลองบางครก จ.เพชรบุรี
ลูกอมผงพรายกุมาร   หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ จ.ระยอง  แบบมีห่วงลวด
วัวธนูเขาแกะ ครูบาอินทร์ตา วัดวังหงส์  จ.แพร่ ปี ๒๔๙๗
วัวธนูหาญล้านนา เนื้อครั่งพุทราตายพราย
แหวนงาแกะ หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ ศิลป์หน้าสิงห์ จ.สุพรรณบุรี
ลูกอม พญาช้างสารม้วนโลก หลวงพ่อดำ วัดกุฏิ จ.ปราจีนบุรี จัดสร้างประมาณปี ๒๔๔๐ ยุคต้น (ลูกที่ 1)
ลูกประคำผงพรายกุมารยุคแรก หลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่
ทันตธาตุ  หรือ ฟัน หลวงพ่อปลอด วัดปากทะเล จ.เพชรบุรี ถักเชือกเดิมๆ
ปลัดขิกปลาชะโดไม้แกะ หลวงพ่อสังข์ สุริโย วัดนากันตม  ศรีสะเกษ
ตะกรุดขาปิ่นโต หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี  ยุคต้น
หัวนะโม พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ เทวดาเมืองคอน (เม็ดที่ ๕)
ตะกรุดโทนหลวงปู่ภู วัดดอนรัก เนื้อตะกั่ว จ.อ่างทอง
ปลัดขิกสะท้านเวหา หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก ยุคต้น ศิลป์สวย จารลึกยันต์เต็มสูตร
ปลัดขิกสะท้านเวหา หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก  (ศิลปพ่อฟัก)
ปลัดขิกหลวงพ่อกลั่น วัดอินทราวาส อ่างทอง ตัวเล็กยุคต้นๆ ขนาด ๑.๕๐ นิ้ว
เสือหลวงพ่อแตง วัดอ่างศิลานอก จ.ชลบุรี
อิ้นมหาเสน่ห์ ครูบาสายเหนือ สร้างจากดิน ๗ โป่ง (๗ ป่าช้า) ห่อด้วยหนังสัตว์ ผูกด้วยสายสิญมัดตราสัง
เสือแกะมหาอำนาจ หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ จ.นครปฐม   เนื้อกระดูก ปี ๒๕๓๗
เขี้ยวเสือแกะพิมพ์นิยมก๊อตซิลล่า พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงออก จ.พัทลุง จัดสร้างราวปี ๒๕๑๖
แหวนพิรอดหล่อโบราณ พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงตะวันออก จ.พัทลุง ยุคก่อน ๒๕๐๐
ปลัดขิกพร้อมไข่ หลวงพ่อเขียน ธัมมะรักขิโต วัดสำนักขุนเณร จ.พิจิตร
ปลัดขิกสายฟ้าฟาด เนื้อปีกเครื่องบิน หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม จ.นครปฐม ปี 2541
ตะกรุดพอกครั่งหลวงพ่อทองสุข วัดโตนดหลวง จ.เพชรบุรี ขนาด ประมาณ ๒ นิ้ว (1)
เกล็ดนิ่ม หลวงปู่ภู วัดท่าฬ่อ จ.พิจิตร
เหรียญพิฆาตไพรี เนื้อตะกั่วผสมดีบุก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๒ ราวปีพ.ศ.๒๓๖๔ (เหรียญที่ 2)
เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘ (ต้น ค.ศ. ๑๖๕ ) เนื้อทองแดง (เหรียญที่ 2)
ตะกรุดเจ็ดดอก หลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก จ.นครศรีธรรมราช (ชุดที่1)
ล็อคเก็ตไอ้ไข่ เด็กวัดเจดีย์  รุ่นสรงน้ำ ๕๘ (พิมพ์ใหญ่)
หัวนะโม เนื้อเงิน หลังพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ เทวดาเมืองคอน (เม็ดที่ 4)
ผาลไถ พ่อท่านชื่น วัดในปราบ สุราษฎร์ธานี (ชิ้นที่ 8)
เสือหลวงพ่อเรือน วัดคลองด่าน (บางเหี้ย) สมุทรปราการ สร้างประมาณ พศ.๒๔๔๐-๒๔๕๓
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ (ตัวที่ 3)
หัวนะโม หลังดอกจันทร์ เนื้อเงินโบราณ จ. นครศรีธรรมราช (เม็ดที่ 2)
เบี้ยแก้ รุ่นแรก เบี้ยองค์ครู หลวงปู่เช้า วัดห้วยลำใย จัดสร้างปี ๒๕๕๖
พระอุปคุตหลังยันต์ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี (องค์ที่2)
เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘
แหวนงูเกี้ยว หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี
ลูกอมหลวงพ่อเนตร วัดตุ๊กตา จ.นครปฐม สร้างขึ้นในช่วงปี ๒๕๐๐
เหรียญเงินโบราณสมัยทวารวดี
เหรียญเงิน อินเดียโบราณ (ราชวงศ์โมกุล) ช่วง ค.ศ. ๑๕๒๖-๑๘๕๘
เบี้ยแก้ หลวงพ่อทัต วัดคฤหบดี (แบบไม่มีหู) ลูกที่ 1
เหรียญเทพเจ้าจุ้ยโบเนี้ย (เจ้าแม่ทับทิม)หลังเทพเจ้าไฉชิ่งเอี๊ย ปี ๒๕๒๗
พญาต่อเงิน-ต่อทอง หลวงพ่อจืด สวนปฏิบัติธรรมโพธิเศรษฐี ปี ๒๕๔๔ (ตั้วที่1)
พระชิวหา วัดควนเกย จ.นครศรีธรรมราช
เม็ดประคำเนื้อผงยาจินดามณีหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม ยุคแรกๆ
ตะกรุดสาริกา(หนังหน้าผากเสือ) หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม จ.นครปฐม สร้างประมาณ ปี ๒๕๑๐-๑๕
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย รุ่น "สยบไพรี" พิมพ์ใหญ่ อ้าปาก ปี ๒๕๖๑
เหรียญเจ้าพ่อเห้งเจีย รุ่นกู้วิกฤติ ช่วยหมื่นชีวิต ร้อยตระกูล เนื้อฝาบาตร หมายเลข ๗๕๕
พญาวานร งาช้างแกะ หลวงพ่ออนันต์ วัดบางพลีน้อย จ.สมุทรปราการ ยุคแรกๆ
ลูกอมมหาเสน่ห์ หลวงพ่อสงวนวัดไผ่พันมือ จ.สุพรรณบุรี  จัดสร้างราวปี พ.ศ.๒๕๑๐  (ลูกที่ 2)
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ อ.สรรค์บุรี ชัยนาท (ด้ายแดง)
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ อ.สรรค์บุรี ชัยนาท (ด้ายน้ำเงิน)
ปลัดหัวชะมดเนื้อสีชมพู (เนื้อผงจูงนางเข้าห้อง) หลวงพ่อเอิบ วัดหนองหม้อแกง ปี ๒๕๕๐
ปิรามิดปรอทกายสิทธิ์ หลวงปู่ละมัย ฐิตมโน แห่งสำนักสวนป่าสมุนไพร จ.เพชรบูรณ์ ยุคต้น
ลูกอมเทียนชัยหนังเสือ หลวงพ่อโอด วัดจันทร์เสน นครสวรรค์ ยุคต้น
ลูกอมเทียนชัยหนังเสือ หลวงพ่อโอด วัดจันทร์เสน นครสวรรค์ ยุคปลาย
ปลาตะเพียนหลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม ยุคแรก ปี ๒๕๑๑
ควายธนู หลวงปู่จันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช ยุคแรก (ตัวที่1)
ลูกอมมหาเสน่ห์ เนื้อผงอิทธิเจ หลวงพ่อสงวน วัดไผ่พันมือ จ.สุพรรณบุรี ปี  ๒๕๑๐
ตะกรุดมหายันต์ หลวงพ่อคล้อย วัดภูเขาทอง จ.พัทลุง ปี ๒๕๕๓
ปลาตะเพียนเงิน ปลาตะเพียนทอง หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก สร้างราวปี ๒๕๐๐
ควายธนู หลวงปู่จันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช รุ่นสอง หลังยันต์
เหรียญมหาบารมี-มังกรทะยานฟ้า ท่านอาจารย์โง้วกิมโคย (เซียนแปะโรงสี) ปี ๒๕๖๐
เขี้ยวหมูตันแกะเสือ หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม จ. นครปฐม
สาริกาเทพประทาน รุ่นแรก หลวงปู่ดี วัดโพธิ์ศรีถาวร
ตัว พ. พิสดาร พยนต์พรายกระซิบ เนื้อผงพราย หลวงปู่ญาครูเฒ่าเต็ม มหาวีโร อายุ ๙๖ ปี
ตะกรุดมหาจักรพรรดิ์ตราธิราช สำนักประดู่ทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี ๒๕๕๗
หมูมหาลาภหลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ จ.ระยอง รุ่น 2 ปี 2538
เหรียญหวานหมู หรือ พญาหมูขี่เสือหลวงปู่ครูบาคำเป็งปี 54
นกสาริกาตัวผู้ หลวงพ่อน่วม วัดหลวงครู ปี ๒๕๑๗
พระพิฆเณศร์ หล่อโบราณ พิมพ์เล็ก  ศิลปนคร
เสื้อยันต์หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส
น้ำเต้ากันภัย หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพ รุ่น ๒ ปี ๒๕๒๗
พญาต่อเงินต่อทอง หลวงพ่อจืด สวนปฏิบัติธรรมโพธิเศรษฐีวนาราม  ปี ๒๕๔๖
ปลาพยูนมหาเสน่ห์ หลวงพ่อสงวน สำนักสงฆ์ควนปริง จังหวัดสตูล ปี ๒๕๕๙
น้ำเต้าโภคทรัพย์ ลงยันต์พญาเสือโคร่ง พระอาจารย์ซ้ง วัดประดู่ (อินทราวาส)กรุงเทพ
แหวนโบราณ เนื้อสัมฤทธิ์โชคโบราณ ยุคทวาราวดี
เข็มกลัดพญานาค ลงยาสีแดง ยาวประมาณ 2.2 นิ้ว
ถั่วลิสงหล่อโบราณ อุดกริ่ง เนื้อออกสัมฤทธิ์
แก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี ยันต์เฑาะห์ (5)
ลูกแก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี พิมพ์หยดน้ำ-เหลี่ยมเพชร (4)
พระบูชาพระนารายณ์สี่กรทรงสิงห์
ลูกอมเนื้อตะกั่ว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.8 ซม.
พระพิฆเนศ เนื้อสัมฤทธิ์ ศิลปะนครวัด
นกคุ้มมารุมเรียกทรัพย์ หรือ นกคุ้มกันไฟ ปี 2548
เบี้ยวาจำลอง วัดชลอ บางกรวย จ.นนทบุรี ปี 2538
ปลัดขิกปลาชะโด ไม้แกะวัดถ้ำแฝด
อิ่นหินนาคกระสวย สุดยอดอิ่นหินของทางล้านนา.
แหวนพิรอด (กลับร้ายกลายเป็นดี) หลวงพ่อขวัญ วัดบ้านไร่
บูชาแป๊ะกง ขนาดองค์สูง ๑๒ นิ้ว
ช้างหล่อทรงเครื่อง บนหลังมีก้อนเงินจีนโบราณ (1 คู่)
พระอุปคุตเขมร เนื้อทองผสม (แก่ทอง)
พระอุปคุตอุปคุตหลังยันต์ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี (องค์ที่ 1)
เงินพดด้วงตราช้าง ข้างอุ สมัยสุโขทัย
ปลัดหัวชะมดเนื้อผงว่านดอกทอง หลวงพ่อเอิบ วัดหนองหม้อแกง
เหรียญหวานหมู หรือ เหรียญพญาหมูขี่เสือ อุนะอุเฮงเฮงเฮงรวยรวยรวยตลอดกาล
ลูกปัดทวาราวดี เขาสามแก้ว ชุมพร
กบสามขา หรือ คางคกสวรรค์ คาบเหรียญจีน
ลูกแก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (3)
สิงห์ 2 ขวัญ ยกขามหาอำนาจ เนื้อสำริด
เทพปี่เซียะ หินหยกแกะ ขนาด 6.5x4 นิ้ว
จิ้งจกขี่ปลัดขิก ไม้แกะ
สิงห์ยกขามหาอำนาจ เนื้อตะกั่วชุบนิกเกิล กะหลั่ยทอง
ลูกแก้วสารพัดนึกกลมใส หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (2)
น้ำเต้าเงิน น้ำเต้าทอง ครูบาออ ปณฺฑิต๊ะ  สำนักสงฆ์พระธาตุดอยจอมแวะ
แก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี ยันต์เฑาะห์ (1)
กุมารทองดูดรก วัดตาก้อง จ.นครปฐม ขนาดบูชา
กุมารทอง  ขนาดบูชา ก้นอุดผง
เสือหล่อโบราณขนาดบูชา
นกสานจากใบลานจารเก่าทั้งตัว ห้อยตะกรุด ไม่ทราบสำนัก
ผ้ายันต์นางกวักพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ สีขาว
กระโหลกเสือแม่ลูกอ่อน หลวงพ่อชำนาญ วัดบางกุฎีทอง
อิ่นเนื้อผง พิมพ์จิ๋ว
ไม้เท้าเวสสุวรรณ หรือคฑาวุธของท้าวเวสสุวรรณ เนื้อเขาควายแกะ
ปูกลายเป็นหิน
ตะกรุดคู่ ไหมเจ็ดสี
บูชาแม่นางกวัก ขนาดฐาน 2 x 4.5 นิ้ว
ตะกรุดไผ่ตันหลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม ยุคแรก
เหรียญ""เจ้าพ่อเห้งเจีย""รุ่นกู้วิกฤติ ช่วยหมื่นชีวิต ร้อยตระกูล หมายเลข 209
ลูกปัดทวาราวดี ท่าชนะ สุราษฎร์ธานี

หน้าหลัก  ข่าวสารจากร้านค้า  วิธีการชำระเงิน  ติดต่อร้าน  เที่ยววัดสะพานสูง  ผู้ดูแล
Copyright©2024 zoonphra.com/amulet
Powered by อ้น ระโนด